พัฒนาการของสังคมโลก
โดย ไพฑูรย์ ศรีรอด
กรกฎาคม-ธันวาคม 2552
1.คลื่นลูกที่ 1 ( The first wave ) สังคมเกษตร ปฏิวัติการเกษตร สังคม เกษตรกร การปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราช
2.คลื่นลุกที่ 2 ( The second wave ) สังคมอุตสาหกรรม กลางศตวรรษ ที่ 18 ปฏิวัติอุตสาหกรรมด้านเครื่องจักรปฏิวัติระบอบประชาธิปไตย ความเป็นรัฐชาติ โลกาภิวัตน์
3.คลื่นลูกที่ 3 (The third wave) สังคมแห่งข้อมูลหรือสังคมโลกาภิวัตน์ปฏิวัติอุตสาหกรรม (1950) ด้านเทคโนโลยี กระแสโลกาภิวัตน์การปฏิวัติข้อมูลข่าวสาร และองค์ความรู้โดยมีเทคโนโลยีด้านสารสนเทศและการสื่อสารเป็นหัวขบวน การล่มสลายของรัสเซีย การขยายตัวของทุนนิยมและการค้าเสรี การจัดระเบียบโลกใหม่ การจัดการสมัยใหม่(สังคมแห่งข้อมูลข่าวสาร หรือ สังคมโลกาภิวัตน์)
4.คลื่นลูกที่ 4 (The forth wave ) สังคมแห่งองค์ความรู้ ปัจจัยแห่งยุคคือความรู้ เครื่องมือแห่งยุคคือศาสตร์แขนงต่าง ๆ เช่น Nanotechnology biotechnology , Pharmaceutical เป็นต้น เพื่อให้เห็นภาพได้ชัดเจน อาจารย์เกรียงศักดิ์ได้ยกตัวอย่างว่าปัจจุบันสหรัฐอเมริกามีประชากรเพียง 1% เท่านั้นที่เป็นสังคมของคลื่นลูกที่ 1 ประชากรถึง 70 % นั้นอยู่ในคลื่นลูกที่ 4 และประชากรส่วนที่เหลืออยู่ในสังคมคลื่นลูกที่ 2 และ 3
เมื่อใดก็ตามที่แพทย์หรือนักวิทยาศาสตร์ หันมาศึกษานามธรรมภายในร่างกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องของจิตและเจตสิก เมื่อนั้นโลกจะเกิดการพัฒนาอย่างก้าวกระโดดอีกครั้งหนึ่ง เป็นการปฏิวัติเข้าสู่คลื่นลูกที่สื่ออย่างรวดเร็ว การทะลุมิติ เหาะเหินเดินอากาศ ยืดหดเวลาหรือข้ามเวลา การหยั่งรู้ใจคน ฯลฯ จะกลายเป็นเรื่องธรรมดา เฉกเช่นนักวิทยาศาสตร์คนแรกที่เริ่มศึกษานามธรรมทางกายภาพ จนปฏิวัติโลกเข้าสู่คลื่นลูกที่สอง(อุตสาหกรรม)และคลื่นลูกที่สาม(เทคโนโลยี)ภายในเวลาไม่กี่ร้อยปี
นักวิทยาศาสตร์คาดการณ์กันว่าจะเป็นคลื่นลูกที่ 4 ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแห่งมนุษย์ชาติต่อจากคลื่นลูกที่ 3 ด้วยเหตุผลที่ว่าเทคโนโลยีชีวภาพที่ถูกนำมาใช้จะก่อให้เกิดประโยชน์มหาศาลต่อมวลมนุษย์ในอนาคต เช่น การปรับปรุงพันธุ์พืช หรือสัตว์เพื่อเพิ่มผลผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลก
888888888